มหาวิทยาลัยนเรศวร มุ่งสร้างโครงสร้างพื้นฐานที่มีความทนทาน ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ครอบคลุมและยั่งยืน และส่งเสริมนวัตกรรม โดยมีนโยบายด้านอุตสาหกรรม นวัตกรรมและโครงสร้างพื้นฐาน (Industry, Innovation and Infrastructure) ดังนี้
1. มีส่วนร่วมในการยกระดับโครงสร้างพื้นฐานและปรับปรุงอุตสาหกรรม เพื่อให้เกิดความยั่งยืน สร้างอุตสาหกรรมที่สะอาดและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น
2. ผลิตงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์และสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ เพื่อยกระดับขีดความสามารถ ทางเทคโนโลยีของภาคอุตสาหกรรมในประเทศ
3.ให้บริการวิชาการแก่สังคม สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม ที่นำไปสู่ความหลากหลายของอุตสาหกรรมและการเพิ่มมูลค่าของสินค้าโภคภัณฑ์
การสร้างโครงสร้างพื้นฐานที่ยั่งยืน, ส่งเสริมอุตสาหกรรมที่ยั่งยืน และนวัตกรรม เป็นเป้าหมายที่มีความสำคัญต่อมหาวิทยาลัยนเรศวรในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานภายในมหาวิทยาลัย ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ยั่งยืน และการสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ที่สามารถนำไปใช้เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจในระดับท้องถิ่นและระดับชาติ มหาวิทยาลัยนเรศวรมีบทบาทในการสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการวิจัย การพัฒนาเทคโนโลยี การสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ยั่งยืน และการส่งเสริมการศึกษาด้านเทคโนโลยีและวิศวกรรม ซึ่งมีความสำคัญในการสร้างเศรษฐกิจที่เติบโตอย่างยั่งยืนและเสริมสร้างนวัตกรรมที่ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศและโลกในอนาคต โดยมีการดำเนินงานดังนี้
- การส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยนเรศวรให้ความสำคัญกับการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ ๆ โดยการสนับสนุนงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ยั่งยืน และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เช่น การวิจัยด้านพลังงานทดแทน เทคโนโลยีชีวภาพ การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน หรือเทคโนโลยีที่ช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม งานวิจัยเหล่านี้สามารถนำไปใช้ในการพัฒนาอุตสาหกรรมในอนาคต
- การพัฒนาและสร้างโครงสร้างพื้นฐานที่ยั่งยืน มหาวิทยาลัยนเรศวรให้ความสำคัญในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทั้งในด้านการศึกษาและสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ เช่น การพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการใช้เทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพ เช่น การติดตั้งระบบพลังงานแสงอาทิตย์ในอาคารต่าง ๆ การพัฒนาเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่มีความเร็วสูง เพื่อรองรับการเรียนการสอนและงานวิจัยที่ต้องการการเชื่อมต่อที่ดี และการพัฒนาระบบการขนส่งที่ยั่งยืนภายในมหาวิทยาลัย
- การส่งเสริมอุตสาหกรรมที่ยั่งยืน มหาวิทยาลัยนเรศวรมีบทบาทในการสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ยั่งยืน ผ่านการศึกษาวิจัยในด้านต่าง ๆ เช่น อุตสาหกรรมเกษตรกรรมยั่งยืน, เทคโนโลยีชีวภาพ, การพัฒนานวัตกรรมในอุตสาหกรรมดิจิทัล และการใช้พลังงานทดแทน ซึ่งจะช่วยสนับสนุนการเติบโตของอุตสาหกรรมในภูมิภาคและประเทศโดยรวม โดยมีเป้าหมายในการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต
- การพัฒนาและส่งเสริมการศึกษาด้านเทคโนโลยีและวิศวกรรม การส่งเสริมการศึกษาด้านเทคโนโลยีและวิศวกรรมเป็นหนึ่งในกลยุทธ์ที่สำคัญของมหาวิทยาลัยนเรศวรในการสร้างบุคลากรที่มีทักษะและความสามารถในการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ยั่งยืนและเทคโนโลยีใหม่ ๆ ผ่านหลักสูตรที่มุ่งเน้นการใช้เทคโนโลยีขั้นสูง เช่น วิศวกรรมพลังงานทดแทน, วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม, วิทยาการคอมพิวเตอร์ และดิจิทัลเทคโนโลยี ซึ่งจะช่วยสร้างความพร้อมให้กับนักศึกษาในการเป็นผู้ประกอบการหรือผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและการพัฒนาอุตสาหกรรม
- การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการนำนวัตกรรมไปใช้ในเชิงพาณิชย์ มหาวิทยาลัยนเรศวรสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการนำนวัตกรรมไปใช้ในเชิงพาณิชย์ ผ่านการสร้างความร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรม การสร้างศูนย์บ่มเพาะธุรกิจ (Incubator) หรือโครงการสนับสนุนผู้ประกอบการ เช่น การจัดฝึกอบรมธุรกิจเพื่อการพัฒนานวัตกรรม การให้คำปรึกษาด้านการตลาด การจัดตั้งเครือข่ายผู้ประกอบการ และการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีที่มีศักยภาพในการทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมต่าง ๆ
- การสนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืนในท้องถิ่นและทั่วโลก มหาวิทยาลัยนเรศวรไม่เพียงแต่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาอุตสาหกรรมในระดับท้องถิ่นเท่านั้น แต่ยังมุ่งมั่นในการส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ยั่งยืนในระดับชาติและระดับโลก ผ่านการสนับสนุนการวิจัยและการพัฒนาเทคโนโลยีที่สามารถนำไปใช้ได้ในระดับสากล โดยการร่วมมือกับองค์กรระหว่างประเทศเพื่อส่งเสริมการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่ยั่งยืน
SDG 9 อุตสาหกรรม นวัตกรรมและโครงสร้างพื้นฐาน
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร “กะหล่ำปลีผง” รูปแบบชงน้ำดื่ม
ทางเลือกในการควบคุมระดับโคเลสเตอรอลในเลือด งานวิจัยนี้ได้นำกะหล่ำปลีมาแปรรูปเป็นผงกะหล่ำปลี ซึ่งสามารถนำไปประยุกต์ดัดแปลง เพื่อเตรียมเป็นผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย โดยผลิตภัณฑ์นี้มี ไฟเบอร์สูง ,จับกรดน้ำดีสูง และลดโคเลสเตอรอลในโมเซลล์ และเหมาะสมกับผู้บริโภคทุกช่วงวัย รวมถึงผู้ที่ควบคุมระดับคอเลสเตอรอลในเลือด และผู้ที่สนใจดูแลสุขภาพตนเอง นักวิจัย : รองศาสตราจารย์ ดร.นันทีทิพ
Read Moreนักวิจัย ม.นเรศวร 1 ใน 2 นักวิจัยไทยที่ได้รับรางวัลพิเศษในงาน IPITEx ปี 2023 จัดโดย วช. ชูผลงานแห่งความภาคภูมิใจ ส่งออกผลไม้ไทยไปตีตลาดโลก
นักวิจัยไทย รศ.ดร.พีระศักดิ์ ฉายประสาท จากมหาวิทยาลัยนเรศวร 1 ใน 2 ของนักวิจัยไทยที่ได้รับรางวัลพิเศษในงานนวัตกรรมและเทคโนโลยีทรัพย์สินทางปัญญานานาชาติ หรือ IPITEX 2023 จัดโดย วช.ในงานวันนักประดิษฐ์ 2566 หมาดๆ
Read Moreม.นเรศวร ลงพื้นที่ติดตามความก้าวหน้าโครงการ Talent Mobility “การพัฒนาสูตรอาหารจิ้งหรีด”
เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2566 อุทยานวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร พร้อมด้วย ศาสตราจารย์ ดร.ยุพา หาญบุญทรง อาจารย์ประจำภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ดร.อภิรชัย วงษ์ศรีวรพล ผู้อำนวยการอุทยานวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Read Moreนักวิจัย ม.นเรศวร ได้รับรางวัลการวิจัยแห่งชาติ ประจำปี 2566
วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2566 รองศาสตราจารย์ ดร.กรกนก อิงคนินันท์ รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรม ดร.ยุทธพงษ์ ทองพบ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรม และนางเจนจิต นาคปรีชา ผู้อำนวยการกองการวิจัยและนวัตกรรม ร่วมแสดงความยินดีและมอบของที่ระลึกให้แก่นักวิจัยมหาวิทยาลัยนเรศวร
Read Moreม.นเรศวร ร่วม วช. เผย พร้อมส่งสตรอว์เบอร์รีพันธุ์ 89 ออกสู่ตลาดปีหน้า
วันที่ 26 มกราคม 2566 สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดย ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ ได้มอบหมายให้ผู้ทรงคุณวุฒิ วช.
Read MoreTM Clearing House อุทยานวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร
วันที่ 18 มกราคม 2566 ดร.สราวุธ สัตยากวี ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์และการถ่ายทอดเทคโนโลยี และรักษาการในตำเเหน่งรองผู้อำนวยการอุทยานวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร เเละเจ้าหน้าที่อุทยานวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร เข้าร่วม ประชุม Retreat แนวทางการดำเนินการโครงการ Talent Mobility
Read Moreม.นเรศวร จัดกิจกรรม Food Maker Space Workshop @NU
ระหว่างวันที่ 14 - 15 มกราคม 2566 Food Innopolis เมืองนวัตกรรมอาหาร (Food Innopolis: FI) ร่วมกับ มหาวิทยาลัยนเรศวร ได้จัดกิจกรรม
Read Moreม.นเรศวร จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตรการส่งเสริมการประยุกต์ใช้อากาศยานไร้คนขับสำหรับภาคอุตสาหกรรม รุ่นที่ 3 (Onsite)
NuSciPark จัดกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตรการส่งเสริมการประยุกต์ใช้อากาศยานไร้คนขับสำหรับภาคอุตสาหกรรม รุ่นที่ 3 (Onsite) ภายใต้โครงการพัฒนาความสามารถทางเทคโนโลยีของบุคลากรภาคอุตสาหกรรม (Brain Power Skill Up) ในวันที่ 9 - 13
Read Moreม.นเรศวร จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตรการส่งเสริมการประยุกต์ใช้อากาศยานไร้คนขับสำหรับภาคอุตสาหกรรม รุ่นที่ 3
อุทยานวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร จัดกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตรการส่งเสริมการประยุกต์ใช้อากาศยานไร้คนขับสำหรับภาคอุตสาหกรรม รุ่นที่ 3 หลักสูตรระยะยาว ที่มีเนื้อหาอัดแน่นกว่า 40 ชั่วโมง ภายใต้การดำเนินงานโครงการพัฒนาความสามารถทางเทคโนโลยีของบุคลากรภาคอุตสาหกรรม (Brain Power Skill Up) ในวันที่
Read Moreอุทยานวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร ยกทีมเข้าร่วมประชุมคณะทำงานดำเนินงานอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ ครั้งที่ 1/2566
วันที่ 4 มกราคม 2565 ดร.สราวุธ สัตยากวี ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์และการถ่ายทอดเทคโนโลยี เเละรักษาการใน ตำเเหน่งรองผู้อำนวยการอุทยานวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวรพร้อมด้วยเจ้าหน้าที่อุทยานวิทยาศาสตร์ฯ เข้าร่วมประชุมคณะทำงานดำเนินงานอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ ครั้งที่ 1/2566 พร้อมกับผู้บริหารและเจ้าหน้าที่เครือข่ายอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ ณ NSP
Read Moreม.นเรศวร ร่วมหลักสูตรผู้จัดการนวัตกรรม (Certified Innovation Manager: CIM) ระดับประเทศ
วันที่ 1 - 3 ธันวาคม 2565 ณ โรงแรมสวิสโฮเต็ล กรุงเทพ รัชดา ดร.พิสุทธิ์ อภิชยกุล รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์และการถ่ายทอดเทคโนโลยี และรักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการอุทยานวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร พร้อมคณะ
Read Moreขอเชิญผู้สนใจเข้าร่วมรับฟัง กิจกรรม OPEN INNOVATION (ROAD SHOW) ภาคเหนือ ครั้งที่ 3
วันที่ 29 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09.00 - 12.00 น. ในรูปแบบ Onsite ณ ห้องประชุมมหามนตรี อาคารศูนย์แสดงนิทรรศการและการจัดประชุมสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (KNECC)
Read Moreม.นเรศวร จัดกิจกรรม OPEN INNOVATION ROAD SHOW ภาคเหนือ ครั้งที่ 3
วันที่ 29 พฤศจิกายน 2565 ณ ห้องประชุมมหามนตรี ชั้น 1 ศูนย์แสดงนิทรรศการและการจัดประชุมสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (KNECC) มหาวิทยาลัยนเรศวร และรูปแบบ Online ผ่านโปรแกรม Zoom
Read Moreม.นเรศวร จัดการแข่งขันการนำเสนอผลงานโครงการเส้นทางสู่นวัตวณิชย์ ครั้งที่ 10 ระดับภูมิภาค (Research to Market : R2M2022
เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2565 อุทยานวิทยาศาตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร ได้จัดการแข่งขันการนำเสนอผลงานโครงการเส้นทางสู่นวัตวณิชย์ ครั้งที่ 10 ระดับภูมิภาค (Research to Market : R2M2022) ณ
Read Moreม.นเรศวร เป็น 1 ใน 17 โครงการเด่น หนุนนักวิจัยไทย หวังเป็นฟันเฟืองขับเคลื่อนประเทศ
นางสาว ชนัณภัสร์ วานิกานุกูล ผู้อำนวยการส่วน รักษาการแทน ผู้อำนวยการสำนักกองทุนวิจัยและพัฒนา เปิดเผยว่า ทิศทางการดำเนินงานและสนับสนุนการพัฒนาวิจัยของ กทปส. ในปีนี้ยังคงเดินหน้าตามแผนปฏิบัติการกองทุนระยะ ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๖) มุ่งมั่นดำเนินการเพื่อประโยชน์สาธารณะ
Read Moreวช.หนุนทีมวิจัย ม.นเรศวร ต่อยอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจากอินทผลัม สู่มะพร้าวน้ำหอมได้สำเร็จครั้งแรก
วช.สนับสนุนทีมวิจัย ม.นเรศวร ต่อยอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจากอินทผลัม สู่มะพร้าวน้ำหอมได้สำเร็จครั้งแรก พร้อมถ่ายทอดเทคโนโลยีและช่วยผู้ประกอบการผลิตน้ำมะพร้าวน้ำหอม 100 % พร้อมดื่มด้วยเทคโนโลยีความดันสูง ช่วยยืดอายุน้ำมะพร้าวสด นาน 2 เดือนโดยที่รสชาติไม่เปลี่ยนแปลง และปลอดภัยต่อผู้บริโภค ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง
Read Moreม.นเรศวร เข้าร่วมเตรียมความพร้อมก่อนการแข่งขันเส้นทางสู่นวัตวณิชย์ (Research to Market Thailand 2022 : R2M 2022)
วันที่ 26 - 28 ตุลาคม 2565 อุทยานวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร ได้เข้าร่วมเตรียมความพร้อมก่อนการแข่งขันเส้นทางสู่นวัตวณิชย์ (Research to Market Thailand 2022 : R2M
Read Moreบีบีจีไอ จับมือ ม.นเรศวร ต่อยอดงานวิจัยสู่การผลิตเชิงพาณิชย์
บริษัทบีบีจีไอ จำกัด (มหาชน) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ กับ มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยมีนายกิตติพงศ์ ลิ่มสุวรรณโรจน์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัทบีบีจีไอ จำกัด (มหาชน) และ รองศาสตราจารย์ ดร.ศรินทร์ทิพย์
Read Moreวช. สนับสนุนทีมวิจัย ม.นเรศวร ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตองุ่นไชน์มัสแคทเพื่อการพาณิชย์
วช. สนับสนุนทีมวิจัย ม.นเรศวร ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตองุ่นไชน์มัสแคทเพื่อการพาณิชย์ เผยจุดเด่นทำให้เป็นองุ่นไร้เมล็ด เพิ่มมูลค่า และเก็บเกี่ยวได้ 2 รอบต่อปี ซึ่งนอกจากจะเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรผู้ปลูกองุ่นแล้ว ยังทำให้คนไทยเข้าถึงการบริโภคองุ่นพันธุ์นี้ได้ง่ายขึ้นและลดการนำเข้าจากต่างประเทศเก็บตก… จากงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2565 กับอีกหนึ่งบูธที่ได้รับความสนใจจากผู้เข้าชมงานเป็นอย่างมากจากการนำเสนอผลงานที่มุ่งยกระดับผลผลิตทางเกษตรเพื่อการพาณิชย์และการส่งออกในอนาคตของทีมวิจัยจากคณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
Read Moreนวัตกรรมโปรตีนจิ้งหรีด อันดับ 1 ของเมืองไทยสู่ผู้นำตลาดโลก
เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2565 รศ.ดร.ศรินทร์ทิพย์ แทนธานี รักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร พร้อมด้วยคณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย และ ผศ.ดร.วรสิทธิ์ โทจำปา คณบดีคณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร ร่วมงานแถลงข่าว
Read MoreMango AI แอปพลิเคชั่นปัญญาประดิษฐ์ ยกระดับเกษตรกรไทยยุคใหม่ ด้วยนวัตกรรม
พัฒนาโดย รศ.ดร.พีระศักดิ์ ฉายประสาท คณะเกษตรศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยงบประมาณสนับสนุนจากหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) ที่จัดสรรให้กับโครงการวิจัยภายใต้แผนงานการขับเคลื่อนเศรษฐกิจชีวภาพ-เศรษฐกิจหมุนเวียน เศรษฐกิจสีเขียว (BCG in Action) ประเทศไทยมีพื้นที่ที่อุดมสมบูรณ์ มีทรัพย์ในดิน สินในน้ำ
Read Moreม.นเรศวร จัดการประชุมวิชาการระดับชาติ นเรศวรวิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 18
วันที่ 25 – 26 กรกฎาคม 2565 มหาวิทยาลัยนเรศวร จัดการประชุมวิชาการระดับชาติ นเรศวรวิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 18 “Steering Towards Frontier University:
Read More“อุทยานวิทยาศาสตร์ ม.นเรศวร”ชูอาหารนุ่มพร้อมทานช่วยผู้ป่วยที่กลืนลำบากให้ได้รับสารอาหาร
เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2565 รศ.(พิเศษ) ดร.ดวงฤทธิ์ เบ็ญจาธิกุล ชัยรุ่งเรือง เลขานุการ รมว.การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เปิดเผยว่า อุทยานวิทยาศาสตร์
Read Moreอร่อยเต็มอิ่ม กับ “ทุเรียนหลง-หลินลับแล” ด้วยนวัตกรรม “ยืดอายุทุเรียนสดแบบแกะพู”ของมหาวิทยาลัยนเรศวร
จังหวัดอุตรดิตถ์ เป็นเมืองมหัศจรรย์แห่งผลไม้ เพราะอุดมสมบูรณ์ไปด้วยผลไม้หลากหลายชนิด ทั้งทุเรียน ลางสาด สับปะรดห้วยมุ่น ฯลฯ โดยผลไม้ที่สร้างชื่อเสียงมากที่สุดคือ ทุเรียนพันธุ์หลงลับแล และหลินลับแล ซึ่งมีแหล่งผลิตสำคัญอยู่ที่อำเภอลับแลและอำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ มีผลผลิตเข้าสู่ตลาดประมาณเดือนเมษายน-สิงหาคม ของทุกปี “ทุเรียนหลงลับแล”
Read Moreม.นเรศวร จับมือ 2 องค์กรมุ่งพัฒนานวัตกรรมห่วงโซ่อุปทานของธุรกิจค้าสัตว์น้ำ และนวัตกรรมสังคม
เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2565 ดร.พุธธิดา เดชพิทักษ์ รองคณบดีฝ่ายบริหารคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พร้อมด้วยตัวแทนจากคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ร่วมต้อนรับคุณปรีดา ยังสุขสถาพร
Read Moreม.นเรศวร เดินหน้าโครงการ Smart Container for Smart Micro-Grid Technology ศูนย์พัฒนาอุตสาหกรรมด้าน Smart City และ นวัตกรรมดิจิทัล
เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ห้องประชุมอาคารสัมมนา วิทยาลัยพลังงานทดแทนและสมาร์ตกริดเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนเรศวร ศาสตราจารย์ (พิเศษ) ดร.กาญจนา เงารังษี อธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร ให้การต้อนรับ นายกอบชัย สังสิทธิสวัสดิ์ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ในโอกาสที่ให้เกียรติเดินทางมาเป็นประธานในพิธีเปิดโครงการนำร่อง Smart Container for Smart
Read Moreนักวิจัย ม.นเรศวร “รับรางวัลผลงานวิจัย ปี 65” วิจัยมะม่วงน้ำดอกไม้สีทอง ได้มาตรฐานส่งออก
เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2565 ที่ผ่านมา ผศ.ดร.พีระศักดิ์ ฉายประสาท คณบดีคณะเกษตรศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร เจ้าของผลงาน “ศึกษาวิจัยมะม่วงให้ได้คุณภาพมาตรฐานส่งออก” เข้ารับรางวัลผลงานวิจัย ระดับดี ในงานวันนักประดิษฐ์ 2564-2565
Read Moreวช. จับมือ ม.นเรศวร พัฒนา “น้ำเสาวรสเสริมพรีไบโอติก” เพื่อผู้บริโภคยุคใหม่ ต่อยอด SMEs เขาค้อ
วช. หนุนนักวิจัย มหาวิทยาลัยนเรศวร พัฒนา “น้ำเสาวรสเสริมพรีไบโอติก” เพื่อสุขภาพ ต่อยอดเชิงพาณิชย์ เสริมศักยภาพผู้ประกอบการ SMEs เขาค้อ เพชรบูรณ์ วันที่ 10 มกราคม 2565 :
Read Moreม.นเรศวร จัดอบรมเชิงบรรยาย หัวข้อ “กฎหมาย และระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการผลิต การจำหน่าย และการโฆษณาผลิตภัณฑ์อาหาร”
วันที่ 25 ตุลาคม 2564 รองศาสตราจารย์ ดร.ศรินทร์ทิพย์ แทนธานี อธิการบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร ได้ให้เกียรติกล่าวเปิดงาน และรองศาสตราจารย์ ดร.กรกนก อิงคนินันท์ รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรม กล่าวรายงาน การจัดอบรมเชิงบรรยาย
Read Moreวช. หนุน ม.นเรศวร วิจัยผ่าทางตันส่งออกมะม่วงยุคโควิด ขนส่งทางเรือไปญี่ปุ่น-เกาหลีใต้ ดันยอด 100 ตัน/สัปดาห์
ปัจจุบันมะม่วงน้ำดอกไม้สีทองเป็นพืชเศรษฐกิจที่มีความสำคัญ ทั้งจำหน่ายในประเทศและส่งออกไปต่างประเทศ เป็นผลไม้ที่ได้รับความนิยมจากผู้บริโภคในประเทศญี่ปุ่น เกาหลีใต้และจีน สามารถสร้างรายได้ให้กับประเทศมากกว่า 1,000 ล้านบาทต่อปี ในปี 2564 สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรคาดการณ์ว่าประเทศไทยจะส่งออกผลผลิตมะม่วงได้ประมาณ 1,800 ตัน แต่จากการระบาดของโรคโควิด-19 ส่งผลให้การส่งออกมะม่วงเกรดพรีเมียมไปญี่ปุ่นและเกาหลีใต้เกิดการชะงัก เพราะไม่มีเที่ยวบินขนส่ง
Read More